344-431 SIMULATION

แผนการเรียนการสอน : Syllabus


วัตถุประสงค์.

รายละเอียดเนื้อหา

การจัดประสบการณ์เรียนรู้และสื่อการเรียนการสอน

Learning resource

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจำลองและระบบ

  • การจำลองคืออะไร
  • ระบบคืออะไร
  • ขั้นตอนในการจำลอง

บรรยาย

Payne, I.A., Introduction to simulation/; programming technique and methods of analysis, Mcgraw-Hill,1988

2. เทคนิคที่ใช้ในการจำลอง

  • เทคนิคที่ใช้ในการจำลองแบบใช้หลักของ FORRESTER
    1. ที่มาของการใช้เทคนิคนี้
    2. Causal link, Causal loop
    3. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียน source, sink, level, rate, auxiliary, constant, etc.
    4. ตัวอย่างการใช้
  • เทคนิคที่ใช้ในการจำลองแบบไม่ต่อเนื่อง (discrete event simulation)
    ที่นิยมใช้คือ เทคนิคมอนติคาร์โล (Monte-Carlo simulation)
    1. ขั้นตอนการจำลองโดยใช้เทคนิคนี้
    2. ตัวอย่างการใช้เทคนิคนี้เช่น สินค้าคงคลัง ระบบแถวคอย
  • เทคนิคที่ใช้ในการจำลองแบบต่อเนื่อง (continuous event simulation)
    1. ทบทวนการใช้อนุพันธ์, ปฏิยานุพัทธ์
    2. ทบทวนการใช้การแปลงโดยใช้ลาปลาส และอินเวอร์สของลาปาส
    3. ทบทวนการใช้การแยกเศษส่วนย่อย
    4. ทบทวนวงจรกระแสไฟฟ้าแบบง่าย (simple electrical circuits), kirchoff's voltage law (KVL), kirchoff's current law (KCL) ฯลฯ
    5. ฟังก์ชั่นการถ่ายเท (transfer function)
    6. ตัวแบบของช่องว่างสถานะ (state-space models)
    7. การแทนระบบ (system representation) โดยการใช้ block diagram

  • เทคนิคที่ใช้ในการจำลองแบบไม่ต่อเนื่อง : บรรยายและให้ทำกรณีศึกษา เช่นไปเก็บข้อมูลของผู้ป่วยที่มาใช้บริการที่รพ.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยใช้ระบบแถวคอย

  • เทคนิคที่ใช้ในการจำลองแบบต่อเนื่อง : บรรยายและสอบ

Watson, H, J. Computer simulation, 2nd ed John Wiley 1989

3. การผลิตเลขสุ่ม

  • วิธีการผลิตเลขสุ่ม
    1. manual method
    2. random number tables
    3. analog computer method
    4. digital computer method
  • การทดสอบความเป็นสุ่ม
    1. frequency test
      • โคโมโกรอฟ-สเมียร์น๊อฟ
      • ไคสแคว
    2. runs test
      • run up & down
      • run above & below the mean
      • length of runs

บรรยายและแบบฝึกหัด

Brain R. Gaines, Perspectives on fifth-generation computing, Oxford Surveys in Information Technology, Vol1,. 1-53, 1985.

4. ความถูกต้องของการจำลองและประสิทธิภาพของการจำลอง

  • ความหมายของความถูกต้อง
  • ขั้นตอนของการทดสอบความถูกต้อง
    1. verification
      • face validity
      • internal validity
      • variables-parameters validity
      • hypothesis validity
    2. การทดสอบแบบการเปรียบเทียบเทียบ
    3. problem analysis
  • การหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง
    1. จากการประมาณค่าเฉลี่ย
    2. จากความแปรปรวน
  • ประสิทธิภาพของการจำลอง

บรรยาย

5. ภาษาที่เกี่ยวกับการจำลอง

แนะนำภาษาที่ใช้ในการจำลอง GPSS, SIMSCRIPT, SIMULA, SIMUL PL/1, etc.

บรรยายและสอบ

Fuori, M. William, "Introduction to the Computer", Prentice-Hall, Inc., 1977




เอกสารประกอบการเรียนการสอน


ความรู้เบื้องต้น
การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบการทดลองของการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ข้อมูลออก
การวางแผนยุทธวิธี
การผลิตเลขสุ่ม
การแปลงโมเดล
การตรวจสอบความมีเหตุและผลและการวิเคราะห์