บทที่ 2

เทคนิคที่ใช้ในการจำลอง

 

เทคนิคMonte Carlo

ขั้นตอนที่ 1

1. ข้อมูลที่ใช้ต้องกำหนด Inter Arrival Time ( เวลาที่2 – เวลาที่ 1)

2. ต้องมี Service Time เป็นช่วงเวลาที่มีการใช้บริการ

3. จะมี Waiting Time เป็นช่วงเวลาที่มีการรอคอย จะมีหรือไม่มีก็ได้

 

ขั้นตอนที่ 2

•  เอาข้อมูลที่ให้มา หาความน่าจะเป็น

•  หาความน่าจะเป็นสะสม

•  หาตัวเลขสุ่ม

 

ขั้นตอนที่ 3

ทำตารางโมเดล

•  ต้องมี Column ตัวเลขสุ่มที่แทน Inter Arrival Time

•  ต้องมี Column แทน Service Time

•  มี Idle Time

 

ขั้นตอนที่ 4

  • ต้องคำนวณค่าประเมิน รอคอยทันที่ หรือเวลาที่ใช้บริการว่า เท่าไหร่
  • จำสูตรด้วย

ตัวอย่าง ข้อมูลของรถบรรทุกที่มาจอดที่สถานีแห่งหนึ่ง ทุกๆ 5 นาทีระหว่าง 7.00 , 7.05 ,... เป็นเวลา 5 วันต่อสัปดาห์ และทั้งหมด 20 สัปดาห์

 

การแจกแจงดังกล่าวมีข้อตกลงเบื้องต้น โดยการใช้การเขียนกราฟของความน่าจะเป็น (probability plotting)

ขั้นตอนของการเตรียมดังนี้

•  เตรียมกระดาษกราฟความน่าจะเป็น (probability paper)

2. ให้ X i , i=1,2,..,n เป็นตัวอย่างข้อมูล

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก

Y 1 Y 2 Y 3 ... Y n

3. เขียนกราฟ Y j และ

เมื่อ j = 1,2,...,n-1

ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงถือว่าการแจกแจงนั้นใช้ได้

 

3. การประมาณค่าพารามิเตอร์

ปกติค่าพารามิเตอร์จะมี ค่าเฉลี่ย และความแปรปรวน

ก . การหาค่าเฉลี่ยและค่าความแปรปรวน

สูตรที่ใช้กรณีข้อมูลไม่แจกแจงความถี่

ค่าเฉลี่ย

ค่าแปรปรวน S 2 =

 


สูตรที่ใช้กรณีข้อมูลแจกแจงความถี่

ค่าเฉลี่ย

ค่าแปรปรวน S 2 =

 

ข . ตัวประมาณค่าพารามิเตอร์

เป็นการที่ค่ามีการเปลี่ยนไปตามตัวอย่างที่สุ่มมาแต่ละครั้ง

ตัวอย่าง จากข้อมูลของโทรศัพท์ที่กล่าวมาแล้ว เมื่อนำมาเขียนฮิสโตแกรม และนำไปเทียบกับการแจกแจงมาตรฐานพบว่าเป็นแบบปัวร์ซอง ซึ่งมีพารามิเตอร์คือ เป็นค่าประมาณของค่าเฉลี่ย

=

S 2 = = 7.63

นอกจากนี้ยังมีตัวประมาณค่าพารามิเตอร์ของการแจกแจงอีกดังนี้

แบบการแจกแจง สูตรของความน่าจะเป็น พารามิเตอร์ ถ้าประมาณค่า

พารามิเตอร์

 

ปัวร์ซอง

เอ็กซ์โป , X>0

เนนเชียล

ค่า X i ต่ำสุด

ค่า X i สูงสุด

สม่ำเสมอ