<%@LANGUAGE="VBSCRIPT" CODEPAGE="874"%> การวิจัยดำเนินการ [ Operation Research ]
บทนำ
CPM/PERT
เกม
กำหนดการเชิงเส้น
ดูอัล
สินค้าคงเหลือ
ระบบแถวคอย
ปัญหาการขนส่ง
เมทริกซ์
 

Course Introduction
Course Syllabus
Lesson
Course Map
Webboard
E-mail
Course Team
 




                        เรื่องที่ 6.4.3 ไม่ทราบความต้องการสินค้าที่แน่นอน

ไม่ทราบความต้องการสินค้าที่แน่นอน
              หาค่า EQQ ได้จากต้นทุนของสินค้าคงเหลือ

ตัวอย่าง 6.8   บริษัทแห่งหนึ่งได้กำหนดความต้องการสินค้าตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-4

                                             สัปดาห์ที่            ความต้องการสินค้า
                                                   1                             500
                                                   2                             300
                                                   3                             400
                                                   4                             400
และต้นทุนต่อหน่วยเป็น 20 บาท ต้นทุนในการรักษาสินค้าคงเหลือเป็น 25% ต่อปี
= [(0.25/52)*20] = 0.096 ประมาณ 0.1 บาทต่อหน่วยต่อสัปดาห์
ต้นทุนการสั่งซื้อ = 20 บาทต่อคำสั่งซื้อแต่ละครั้ง
จงคำนวณต้นทุนเมื่อมีสินค้าคงเหลือ
วิธีทำ จำนวนสั่งซื้อ (หน่วย) ต้นทุนในการรักษาสินค้าคงเหลือ 500 0
800 เก็บสินค้า 300 หน่วย เวลา 1 สัปดาห์ = 300*0.1 = 30 บาท
1200 30 บาทจากข้างต้นบวกเก็บสินค้า 400 หน่วย 2 ปดาห์
= 30+(400*0.1*2)
= 30+80 = 110 บาท
1600 110 บาทบวกเก็บสินค้าคง 400 หน่วย 3 สัปดาห์
= 110+(400*0.1*3)
= 110+120 = 230 บาท
นำมาสร้างตารางดังนี้ จำนวนสั่งซื้อ ต้นทุนเมื่อมี ต้นทุนในการสั่งซื้อ สินค้าคงเหลือ (บาท) 500 0 20
800 30 20
1200 110 20
1600 230 20
ขนาด EQQ ที่ดีที่สุดคือ จุดที่ต้นทุนในการรักษาสินค้าคงเหลือ = ต้นทุนในการสั่งซื้อ
ดังนั้น ใช้เทียบบัญญัติไตรยางศ์แบบง่าย ในการหาต้นทุนในการสั่งซื้อ
= (30-20)/(0.1*2) = 10/0.2 =50 หน่วย
ขนาด EQQ = 800-50 = 750 หน่วย
หมายเหตุ สูตร EQQ เป็นเพียงเครื่องมือที่ใช้ในการตัดสินใจ ไม่มีกิจการใดที่จะนำสูตร EQQ มาใช้ในการวิเคราะห์การซื้อและการเก็บรักษาสินค้าทุกชนิด เพราะว่าเป็นการสิ้นเปลืองเวลาในการคำนวณมาก ดังนั้นควรแยกสินค้าออกเป็นกลุ่มๆ ว่ากลุ่มใด มีมูลค่าสูงที่สุดของสินค้ารวม และกลุ่มใดมีมูลค่าต่ำลงมา เช่น กลุ่มสินค้าคงเหลือ ระดับความสำคัญ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์
สินค้าคงเหลือ จำนวนมูลค่า A สูง 10 80
B ปานกลาง 20 15
C ต่ำ 70 5 100 100
เรื่องที่