<%@LANGUAGE="VBSCRIPT" CODEPAGE="874"%> การวิจัยดำเนินการ [ Operation Research ]
บทนำ
CPM/PERT
เกม
กำหนดการเชิงเส้น
ดูอัล
สินค้าคงเหลือ
ระบบแถวคอย
ปัญหาการขนส่ง
เมทริกซ์
 

Course Introduction
Course Syllabus
Lesson
Course Map
Webboard
E-mail
Course Team
 




                          เรื่องที่ 4.1 วิธีการที่ใช้ในกำหนดการเชิงเส้น 

วิธีการที่ใช้ในกำหนดการเชิงเส้น แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 
              1. แบบสองตัวแปร 
              2. แบบมากกว่าสองตัวแปร
1. แบบสองตัวแปร  มี 3 ประเภท คือ
              1.1 วิธีจำกัดขอบข่ายของคำตอบ
              1.2 วิธีอนุมานทางคณิตศาสตร์
              1.3 วิธีกราฟ

1. วิธีจำกัดขอบข่ายของคำตอบ
               - ทำได้โดยสร้างตารางแสดงค่าของตัวแปรตั้งแต่ 0,1,2…
- ภายในตารางแสดงผลลัพธ์ที่เกิดจากการแทนค่าตัวแปรในสมการวัตถุประสงค์ - ใช้สมการหรืออสมการของข้อจำกัดตัดช่วงตัวเลขที่เป็นไปได้ออก ดังนั้นจะเหลือค่าภายในตารางที่เรียกว่า
feasible solution ผลลัพธ์ที่ให้ค่าสูงสุดหรือต่ำสุดหาจากผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ โดยดูจากค่าที่อยู่ที่ บริเวณริมรอบๆเส้น ดังกล่าว ตัวอย่าง กำหนดให้ สมการวัตถุประสงค์ Mazimize Z = 7X1 + 4X2 อสมการข้อจำกัด X
1 3
X
2 6
3X
1 + 2X2 20
X
1 , X2 0
               พบว่าภายในตารางเมื่อแทนค่าตัวแปรในสมการวัตถุประสงค์ และใช้สมการหรืออสมการข้อจำกัดตัดช่วงตัวเลข
ที่เป็นไปได้ออก และพิจารณาค่าที่อยู่ริมรอบๆ จะเห็นว่าเมื่อ X1 เป็น 3 และ X2 เป็น 5 จะให้ค่า Z เป็น 41 ซึ่งเป็นค่าที่
เหมาะสมที่สุด

2. วิธีอนุมานทางคณิตศาสตร์
               เป็นการสมมติค่าของตัวแปรหนึ่งให้เป็นค่าสูงสุด หรือ ต่ำสุดตามขอบเขตของตัวแปรนั้นแล้วหาค่าที่เป็นไปได้
ของอีกตัวแปรหนึ่ง ทำจนกว่าจะได้ค่าของสมการวัตถุประสงค์ซึ่งให้สมมติสลับกันไป
ตัวอย่าง 
กำหนดให้
สมการวัตถุประสงค์
Maximize Z = 7X1 + 4X2
อสมการข้อจำกัด X1 3
X2 6
3X1 + 2X2 20
X1 , X2 0
วิธีทำ สมมติ X1 = 0 และเลือก X2 6 เป็น X2 = 6
ดังนั้น 3X1 + 2X2 = 12 ซึ่งน้อยกว่า 20
เมื่อ X1 = 0 ค่าสูงสุดของ X2 = 6
และค่าต่ำสุดของ X2 = 0
Z(0,0) = 0
Z(0,6) = 24 X1 X2 3X1 + 2X2 20 Z = 7X1 + 4X2 -------------------------------------------------------------------------- 1) 0 6 12 24 (สมมติเช่น 10) 0 0 0 0 2) 3 0 9 21 (สมมติเช่น 3) ( สมมติเช่น 6.67) 0 0 0 0 3) 3 0 สมมติเช่น 5.5 21 (สมมติให้เป็น 5) 3 5 41 4) 2 6 2.67 Z = 38 (สมมติเช่น 2) 0 6 Z = 24 พบว่าที่ Z(3,5) = 41 เป็นกำไรสูงสุด
เรื่องที่