<%@LANGUAGE="VBSCRIPT" CODEPAGE="874"%> การวิจัยดำเนินการ [ Operation Research ]
บทนำ
CPM/PERT
เกม
กำหนดการเชิงเส้น
ดูอัล
สินค้าคงเหลือ
ระบบแถวคอย
ปัญหาการขนส่ง
เมทริกซ์
 

Course Introduction
Course Syllabus
Lesson
Course Map
Webboard
E-mail
Course Team
 




                        เรื่องที่ 7.3.2.2 ตัวแบบพื้นฐานของระบบแถวคอย

ตัวแบบพื้นฐานของระบบแถวคอย
             ตัวแบบพื้นฐานของระบบแถวคอยเป็นตัวแบบที่มีข้อสมมุติฐานดังต่อไปนี้
1. จำนวนที่มารับบริการและการรอคอยมีจำนวนไม่จำกัด
2. มีช่องทางให้บริการเพียงช่องทางเดียว
3. การกระจายของการมารับบริการเป็นแบบปัวซอง
4. การกระจายของเวลาให้บริการเป็นแบบเอกซ์โพเนนเชียล
5. ระเบียบการให้บริการเป็นแบบใครมาถึงก่อนได้รับบริการก่อน
6. อัตราการให้บริการ ( ) จะต้องสูงกว่าอัตราการมา( ) มิฉะนั้นแล้วจะเกิดสภาพแถวคอยมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การมี่อัตราการให้บริการมีค่ามากกว่าอัตราการมารับบริการจะทำให้ระบบแถวคอยเข้าสู่สภาวะคงตัว จากข้อสมมุติฐานทั้ง 6 ข้อ ต่อไปนี้จะแสดงรายละเอียดที่มาของสูตรที่ใช้ในการคำนวณค่าสถิติซึ่งแสดงผลการดำเนินงาน ของตัวแบบดังนี้ สัดส่วนที่ส่วนบริการทำงานโดนเฉลี่ย ( P ) = -------------------- (1) จำนวนลูกค้าโดยเฉลี่ยที่อยู่ในระบบ ( L ) = -------------------- (2) เนื่องจากความสัมพันธ์ L = W หรือ W = -------------------- (3) แทนค่า L = ในสมการ ( 3 ) จะได้สูตรเวลาที่ใช้ในระบบโดยเฉลี่ยดังนี้ W = ( ) ( ) จะได้ W = -------------------- (4) เมื่อทราบค่า W เวลารอคอยโดยเฉลี่ย ( Wq) หาได้ดังนี้ Wq = W - -------------------- (5) แทนค่า W = ในสมการ ( 5 ) จะได้ Wq = หรือ Wq = -------------------- (6) เมื่อทราบค่า Wq ก็สามารถหาค่าความยาวของแถวคอย ( Lq ) จากสูตร
Lq = Wq
แทนค่า Wq = ในสมการ ( 7 ) จะได้ -------------------- (7) Lq = ()( ) หรือ Lq = -------------------- (8) ดังนั้น โดยสรุปสูตรที่ใช้ในการคำนวณเป็นดังนี้ L = Lq = W = Wq = สำหรับความน่าจะเป็นที่จะมีลูกค้าอยู่ในระบบ n หน่วย ( Pn) คำนวณได้ดังนี้ Pn = ()n. P0 ; n =1,2,3,... โดยที่ P0 = 1 - ในที่นี้ P0 หมายถึงความน่าจะเป็นที่จะไม่มีลูกค้าอยู่ในระบบ ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับความน่าจะเป็นที่ส่วนบริการว่างงาน ตัวอย่างที่ 4 อัตราการบริการซึ่งเสียต้นทุนต่ำสุดสำหรับระบบแถวคอยที่มีช่องให้บริการเพียงช่องเดียว บริษัทส่งออกพืชผลแห่งหนึ่งมีการขนส่งสินค้าเกษตรกรรมไปจัดเก็บที่โกดังสินค้าของบริษัทในเวลาตอนเย็นเพื่อจัดส่งไป ต่างประเทศต่อไป รถขนส่งจะมาส่งสินค้าที่โกดังโดยเฉลี่ยประมาณ 2 คันต่อชั่วโมง ที่โกดังสินค้าจะมีกรรมกรขนสินค้า ลงจากรถ 3 คน โดยเฉลี่ยแล้วสามารถขนถ่ายสินค้าได้ 3 คันรถภายในเวลา 1 ชั่วโมง สมมุติว่าการกระจายของช่วงห่างกัน มาของรถขนส่งและเวลาที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้ามีการแจกแจงแบบเอกซ์โพเนนเชียล ถ้าเพิ่มจำนวนกรรมกรขนถ่ายสินค้า จะทำให้อัตราการให้บริการเพิ่มขึ้นตามอัตราส่วน นั่นคือถ้าใช้กรรมกร 4 คน สามารถขนถ่ายสินค้าได้ 4 คันรถในเวลา 1 ชั่วโมง กรรมกรแต่ละคนได้รับค่าจ้าง 10 บาทต่อชั่วโมงในการทำงานกะกลางคืน 8 ชั่วโมง ต้นทุนการรอคอยเมื่อพนักงาน ขับรถขนส่งต้องเสียเวลารอคอยเพื่อขนถ่ายสินค้าคิดเป็นมูลค่าประมาณ 20 บาท/ชั่วโมง จากข้อมูลข้างต้น ผู้บริหารโกดัง สินค้าควรจะจ้างกรรมกรขนถ่ายสินค้ากี่คนจึงจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายต่ำสุด ตัวแปรที่ใช้ในการตัดสินใจในระบบการขนถ่ายสินค้า คือ อัตราการให้บริการโดยกลุ่มกรรมกร ทางเลือกสำหรับ จำนวนกรรมกรเป็นดังนี้ A1 : ใช้กรรมกร 3 คน ( = 2 คัน/ชั่วโมง ; = 3 คัน/ชั่วโมง )
A2 : ใช้กรรมกร 4 คน ( = 2 คัน/ชั่วโมง ; = 4 คัน/ชั่วโมง )
A3 : ใช้กรรมกร 5 คน ( = 2 คัน/ชั่วโมง ; = 5 คัน/ชั่วโมง )
A4 : ใช้กรรมกร 6 คน ( = 2 คัน/ชั่วโมง ; = 6 คัน/ชั่วโมง )
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการเลือกทางเลือก คือ เลือกทางเลือกที่มีต้นทุนรวมโดยเฉลี่ยต่ำสุดต้นทุนประกอบด้วย ต้นทุนการขนถ่ายสินค้า และต้นทุนการรอคอย ต้นทุนการขนถ่ายสินค้าต่อการทำงานกะกลางคืน ( 8 ชั่วโมง ) คำนวณได้ง่ายดังนี้
ค่าจ้างกรรมกร = 10 บาท/ชั่วโมง
ค่าจ้างกรรมกร 1 คนในการทำงานกะกลางคืน = (10)(8) = 80 บาท
สำหรับทางเลือก A ค่าจ้างกรรมกร 3 คนในการทำงานกะกลางคืน = 80 3 = 240 บาท ต้นทุนการรอคอยขึ้นอยู่กับเวลาที่ใช้ในระบบกล่าวคือช่วงเวลาตั้งแต่รถสินค้ามาถึงโกดังจนกระทั่งขนถ่ายสินค้า แล้วเสร็จ เวลาเฉลี่ยที่อยู่ในระบบคำนวณได้จากสูตรดังนี้
W = สำหรับทางเลือก A1 : W1 = = 1 ชั่วโมง สำหรับทางเลือก A2 : W2 = = 1/2 ชั่วโมง หรือ 30 นาที สำหรับทางเลือก A3 : W3 = = 1/3 ชั่วโมง หรือ 20 นาที สำหรับทางเลือก A4 : W4 = = 1/4 ชั่วโมง หรือ 15 นาที ต้นทุนการรอคอยต่อคืนขึ้นอยู่กับจำนวน เวลาที่อยู่ในระบบ และต้นทุนการรอคอย สำหรับทางเลือก A1 รถขนส่งมาส่งสินค้าที่โกดังเฉลี่ย 2 คัน/ชั่วโมง ดังนั้นในเวลา 1 คืน ( 8 ชั่วโมง ) จะมีรถมาส่งสินค้าที่โกดังโดยเฉลี่ย 2 x 8 = 16 คัน/ชั่วโมง รถขนส่งแต่ละคันจะเสียเวลา 1 ชั่วโมง ( W1 ) นับตั้งแต่ มาถึงโกดังจนกระทั่งขนถ่ายสินค้าแล้วเสร็จ ในช่วงเวลาดังกล่าวพนักงานขับรถต้องเสียเวลารอคอยคิดเป็นมูลค่าเสียหาย ประมาณ 20 บาท/ชั่วโมง ดังนั้นค่าคาดหมายของต้นทุนการรอคอยคำนวณได้ดังนี้ E(Wc1) = ค่าคาดหมายต้นทุนการรอคอยต่อคืนสำหรับทางเลือก A1
= อัตราการมา จำนวนชั่วโมง เวลาในระบบ ค่าเสียหาย/ชั่วโมง
= 2 x 8 x 1 x 20
= 320 บาท
ในทำนองเดียวกันจะคำนวณต้นทุนการรอคอยและต้นทุนการขนถ่ายสินค้าสำหรับทางเลือกอื่นๆ ได้ดังแสดงในตารางที่ 8 ตารางที่ 8 ต้นทุนสำหรับทางเลือกต่างๆของระบบขนถ่ายสินค้า
ระดับการ
ให้บริการ
จำนวน
กรรมกร
เวลาเฉลี่ย
อยู่ใน
ระบบ
W =

จำนวนรถที่มาถ่าย
ต่อคืน
8
= 16

ต้นทุนค่า
คาดหมายการรอคอยต่อคัน
ในอัตรา 20 บาทต่อชั่วโมง
E( Wc )

ต้นทุนค่า
คาดหมาย
ของการ
ขนถ่าย
ต่อคืนใน
อัตรา 80
บาท/คน
ค่าคาดหมาย
ต้นทุนรวม E(Tc)=E(Wc)+
E(Sc)
A1
(
= 2 , = 3 )
3
1 ชั่วโมง
16
320
240
560
A2
(
= 2 , = 4 )
4
1/2ชั่วโมง
16
160
320
480*
A3
(
= 2 , = 5 )
8
1/3 ชั่วโมง
16
106.67
400
506.67
A4
(
= 2 , = 6 )
6
1/4 ชั่วโมง
16
80
480
560
             จากตารางที่ 8 จะเห็นว่าควรเลือกทางเลือก A2 คือใช้กรรมกร 4 คน ให้ต้นทุนรวมโดยเฉลี่ยต่อคืนต่ำสุดฉะนั้นการใช้
กรรมกร 4 คน เป็นขนาดที่เหมาะสมและประหยัดที่สุด
หมายเหตุ  เปรียบเทียบทางเลือก A1 และ A4 แม้ว่าจะให้ต้นทุนรวมเท่ากับ 560 บาทเท่ากัน แต่ทางเลือก A4 จะเสียเวลา
ในระบบน้อยกว่า ดังนั้นทางเลือก A4 จะมีประสิทธิภาพดีกว่าทางเลือก A1
              ในหลายสถานการณ์ผู้บริหารไม่สามารถประเมินผลเสียหายจากการรอคอยได้ ตัวอย่างเช่น เป็นการยากที่จะประเมิน
ค่าเสียหายที่ลูกค้าต้องการรอคอยเบิกเงินที่ธนาคาร หรือคนไข้อาการหนักรอคอยผ่าตัด แม้แต่ในสถานการณ์ที่สามารถประเมิน
ผลได้ความเสียหายจากการรอคอยอาจจะเพิ่มในอัตราส่วนที่ไม่เท่ากันก็ได้ เช่น รอ 1 ชั่วโมงเกิดความเสียหายประเมินได้ 100
 บาท แต่ก็รอเพิ่มขึ้นอีก 1 ชั่วโมงอาจจะก่อความเสียหายจนประมาณค่าไม่ได้ก็เป็นได้ ในสถานการณ์เช่นนี้แทนที่เราจะประเมิน
ค่าเสียหายจากการรอคอยเป็นตัวเงินออกมา ผู้บริหารงานอาจกำหนดค่าสูงสุดของเวลารอคอยที่ลูกค้านั้นทนรอได้ หรือมีเงื่อนไข
ว่าจำนวนลูกค้าที่รอคอยในแถวคอยจะต้องไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ นั่นคือกำหนดขีดจำกัดของ Wq หรือ Lq  นั่นเอง จากขีด
จำกัดที่กำหนดขึ้นสามารถคำนวณหาอัตราให้บริการที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดโดยสอดคล้องกับเงื่อนไขที่กำหนดไว้ วิธีการนี้
ไม่ได้ให้ระบบแถวคอยที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่เป็นวิธีการออกแบบระบบแถวคอยให้สอดคล้องกับข้อกำหนดทางด้านบริหาร 
ตัวอย่างปัญหาแถวคอยประเภทนี้จะได้กล่าวไว้ในกิจกรรมท้ายหัวเรื่องนี้
เรื่องที่