<%@LANGUAGE="VBSCRIPT" CODEPAGE="874"%> การวิจัยดำเนินการ [ Operation Research ]
บทนำ
CPM/PERT
เกม
กำหนดการเชิงเส้น
ดูอัล
สินค้าคงเหลือ
ระบบแถวคอย
ปัญหาการขนส่ง
เมทริกซ์
 

Course Introduction
Course Syllabus
Lesson
Course Map
Webboard
E-mail
Course Team
 




                                      เรื่องที่ 2.1.1 แบบผังวงกลม
           
            เป็นแบบที่
            ก. ใช้วงกลมแทนกิจกรรม
            ข. ลูกศรแทนความสัมพันธ์ก่อนหลังของกิจกรรม
            
เช่น                            

             ค. ใช้เส้นประ แทนกิจกรรมสมมติ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เกิดผล
                                      
             เป็นกิจกรรมสมมติซึ่งมีความสัมพันธ์เป็นเส้นประ แสดงว่า กิจกรรม ค จะทำได้อาจเริ่มจากกิจกรรม ก, ข หรือ ก ก็ได้

            นอกจากนี้มีกติกาของการเขียนดังนี้

                      วงกลม               แทนเหตุการณ์ของจุดเริ่มต้น  จุดสิ้นสุด
                      ลูกศร                 แทนกิจกรรม ซึ่งปลายลูกศร แสดงถึงส่วนต้นของกิจกรรม
                                                         และ หัวลูกศรแสดงถึงส่วนสิ้นสุดของกิจกรรม

                                                      
                                  เริ่มต้นของกิจกรรม                     สิ้นสุดของกิจกรรม
                      ใส่หมายเลขกำกับในวงกลม  แทนหมายเลขของเหตุการณ์  แสดงจุดเริ่มต้น และสุดสิ้นสุดของกิจกรรม
                                                        
                          บางครั้งใช้กิจกรรมแทนตรงความยาวของลูฏศรได้
                                            
                                                        
                  
                          การกำหนดหมายเลขในกิจกรรมต้องเริ่มจากตัวเลขจำนวนน้อยให้อยู่ตอนปลายของลูกศรไปยังตัวเลขจำนวน
            มากกว่าให้อยู่ตอนหัวลูกศร
เช่น
                         การเขียนตัวเลขที่ผิดในที่นี้กิจกรรม C ใส่หมายเลขจาก 3 ไปเป็น 2 ซึ่งที่ถูกจะแก้เป็นจาก 2 ไป 3 เพราะตัวเลข
จำนวนน้อยให้อยู่ตอนปลายของลูกศรไปยังตัวเลขจำนวนมากกว่าให้อยู่ตอนหัวของลูกศร

                                          แก้เป็น       

                     ไม่ใช้การเขียนลูกศรทับกัน
ในที่นี้ลูกศรของเส้น B, D ทับกัน

                                                   
         แก้เป็น 

                                                 

                     ความยาวของลูกศรมีขนาดใกล้เคียงกัน
                                    

          แก้เป็น
                                                  
          
            มุมระหว่างกิจกรรมมีความกว้างพอควร และไม่ควรใช้เส้นประโดยไม่จำเป็น
เช่น
                                           

ตัวอย่าง 2.1 จงเขียนโครงข่ายสำหรับโครงงาน โดยมีข้อแม้ว่า
                        1. กิจกรรม A, B, C เป็นกิจกรรมแรกและเริ่มต้นพร้อมกัน
                            กิจกรรม I, G, L เป็นกิจกรรมสุดท้ายที่ทำได้ในขณะเดียวกัน
                        2. กิจกรรม A, B  อยู่ก่อนกิจกรรม D
                            กิจกรรม B อยู่ก่อนกิจกรรม E, F, H
                            กิจกรรม F, C  อยู่ก่อนกิจกรรม  G
                            กิจกรรม E, H  อยู่ก่อนกิจกรรม I, J
                            กิจกรรม C, D, F, J  อยู่ก่อนกิจกรรม K
                            กิจกรรม  K  อยู่ก่อนกิจกรรม L
วิธีทำ
                                      

ตัวอย่าง 2.2 กำหนดให้
                      กิจกรรม A  เป็นกิจกรรมแรก
                      กิจกรรม B, C  เป็นกิจกรรมทำหลังกิจกรรม A
                      กิจกรรม B, C  เป็นกิจกรรมทำก่อนกิจกรรม D
                      กิจกรรม C  เป็นกิจกรรมทำก่อนกิจกรรม E
                      กิจกรรม D, E ทำก่อนกิจกรรม F
จงเขียนโครงข่ายของโครงงาน
วิธีทำ
                               
       หลังจากที่สร้างโครงข่ายแล้ว ต้องทำการวิเคราะห์โครงข่ายที่สร้างขึ้น เพื่อหาเส้นวิกฤตของโครงข่าย ซึ่งทำให้ทราบถึงเวลา
ของโครงงานที่ได้จากผลรวมของเวลาที่ใช้ทำกิจกรรมซึ่งอยู่บนเส้นวิกฤต ดังนั้นต้องคำนวณเวลาต่าง ๆ ของกิจกรรมก่อนเพื่อจะ
ทราบว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมวิกฤต หรือเป็นกิจกรรมไม่วิกฤต
เรื่องที่