<%@LANGUAGE="VBSCRIPT" CODEPAGE="874"%> การวิจัยดำเนินการ [ Operation Research ]
บทนำ
CPM/PERT
เกม
กำหนดการเชิงเส้น
ดูอัล
สินค้าคงเหลือ
ระบบแถวคอย
ปัญหาการขนส่ง
เมทริกซ์
 

Course Introduction
Course Syllabus
Lesson
Course Map
Webboard
E-mail
Course Team
 




                                    เรื่องที่ 9.4 การคูณเมทริกซ์

การคูณเมทริกซ์
            มี 2 แบบคือ
9.4.1 ตัวเลขคงที่ใดๆ หรือตัวอักษรที่เป็นค่าคงที่ คูณกับเมทริกซ์
9.4.2 เมทริกซ์คูณกับเมทริกซ์ 9.4.1 ตัวเลขคงที่ใดๆ หรือตัวอักษรที่เป็นค่าคงที่ คูณกับเมทริกซ์ ให้นำค่าคงที่นั้นหรือตัวอักษรนั้นคูณเข้ากับสมาชิกทุกตัวของเมทริกซ์ ตัวอย่าง 2.10 ให้ A เป็นเมทริกซ์มิติ 1x3
A = [ 1 2 3 ]
จงหาค่าของ 10A วิธีทำ
10A = [ 1x10 2x10 3x10 ] จะเห็นว่าสมาชิกทุกตัวถูกคูณด้วย 10
= [ 10 20 30 ] ตัวอย่าง 2.11 พ่อค้าคนหนึ่งซื้อผลไม้มาขายเพียง 3 ชนิดคือ ส้ม มะม่วง และกล้วย ซึ่งได้แสดงต้นทุนคิดเป็นต่อ 1 กิโลกรัม แสดงเป็นตาราง ดังนี้
พ่อค้าคนนี้ต้องการนำผลไม้เหล่านั้นไปขาย โดยมีความต้องการที่จะให้ได้กำไรกิโลกรัมละ 10% ของผลไม้ทุกชนิด จงคำนวณหาราคาขายต่อกิโลกรัม วิธีทำ
นำข้อมูลของตาราง แปลงเป็นเมทริกซ์ เมื่อต้องการกำไร 10% ราคาขายแสดงเป็นเมทริกซ์ได้ดังนี้ = ผลที่ได้นำมาแสดงเป็นตารางได้ดังนี้ 9.4.2 เมทริกซ์คูณกับเมทริกซ์ เมทริกซ์ที่จะคูณกันได้นั้นต้องตรวจดูมิติของเมทริกซ์ที่จะนำมาคูณก่อน กล่าวคือ เมทริกซ์ที่หนึ่งต้องมีมิติ ที่จำนวนสดมภ์เท่ากับ จำนวนแถวของเมทริกซ์ที่สอง แล้วเมทริกซ์ที่เป็นผลลัพธ์จะมีมิติเป็นจำนวนแถว เท่ากับ จำนวนแถว ของเมทริกซ์ที่หนึ่ง และ จำนวนสดมภ์เท่ากับจำนวนสดมภ์ของเมทริกซ์ที่สองหลังจากนั้นนำเมทริกซ์มาคูณกันได้โดยการ นำสมาชิกแถวของเมทริกซ์ที่หนึ่งคูณกับสมาชิกที่อยู่ในสดมภ์ของเมทริกซ์ที่สองแล้วนำมารวมกัน ดังนั้นเขียนในรูปทั่วไป สำหรับการคูณเมทริกซ์ได้ดังนี้ ให้ A = เป็นเมทริกซ์มิติ 1xn B = เป็นเมทริกซ์มิติ n x1 AB = ตัวอย่าง 9.12 ให้ A, B เป็นเมทริกซ์ A = [1 2 3 ] B = จงหา AB วิธีทำ A มีมิติ 1x3 ส่วน B มิติ 3x3 ซึ่งจำนวนสดมภ์ของเมทริกซ์ A เท่ากับจำนวนแถวของเมทริกซ์ B ทำให้สามารถคูณกันได้ AB = [1 2 3 ]1x3 = = [10+40+30 -1-4-9] = [ 80 -14] จะเห็นว่าเมทริกซ์ A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 1x3 และ B เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติเป็น 3x2 ซึ่งสามารถคูณกันได้เพราะจำนวนสดมภ์ ของเมทริกซ์ A เป็น 3 ซึ่งเท่ากับจำนวนแถวของเมทริกซ์ B ผลลัพธ์ของเมทริกซ์ใหม่มีมิติเป็น 1x2 สำหรับการคูณนั้นสมาชิก ของแถวที่ 1 ของเมทริกซ์ A คูณกับสดมภ์ที่ 1 ของเมทริกซ์ B แล้ว นำผลลัพธ์ของการคูณรวมกัน จะเป็นสมาชิกของ เมทริกซ์ใหม่ที่อยู่ในตำแหน่งแถวที่ 1 และสดมภ์ที่ 1 สำหรับสมาชิกอื่นๆ จะทำทำนองเดียวกัน
ตัวอย่าง 9.13 ศูนย์กลางค้าแห่งหนึ่งได้จัดรายการสินค้า เพื่อลดราคาของสองสาขา ซึ่งได้แสดงข้อมูลเป็นสองตาราง คือตารางที่ 2.1 และ 2.2 ซึ่งแสดงไว้ที่ข้างล่างนี้ โดยตารางที่ 2.1 เป็นตารางแสดงราคาขายต่อหน่วยของสินค้า แชมพู สบู่ ยาย้อมผม ส่วนตารางที่ 2.2 เป็นตารางแสดงจำนวนเงินที่ลดต่อหน่วยของสินค้า ตารางที่ 9.1 แสดงราคาขายต่อหน่วยของสินค้าที่เป็นแชมพู สบู่ ยาย้อมผม ตารางที่ 9.2 แสดงจำนวนเงินที่ลดต่อหน่วยของสองสาขา ศูนย์กลางค้านี้ต้องการที่จะทราบว่าจำนวนเงินที่ลดทั้งหมดของการขายสินค้า แชมพู สบู่ ยาย้อมผมต่อหน่วย ของทั้งสองสาขาเป็นเท่าไร วิธีทำ ข้อมูลของตารางที่ 9.1 แปลงเป็นเมทริกซ์ได้ดังนี้ ข้อมูลของตารางที่ 9.2 แปลงเป็นเมทริกซ์ได้ดังนี้ ดังนั้นจำนวนเงินที่ลดทั้งหมดของทั้งสองสาขาเป็นดังนี้
= = จากผลลัพธ์ที่ได้แสดงว่า
สาขาที่ 1 จำนวนเงินที่ลด แชมพู 1 ขวดเป็น 124 บาท
สบู่ 1 ขวดเป็น 36 บาท
ยาย้อมผม 1 ขวดเป็น 334 บาท
สาขาที่ 2 จำนวนเงินที่ลด แชมพู 1 ขวดเป็น 86 บาท
สบู่ 1 ขวดเป็น 29 บาท
ยาย้อมผม 1 ขวดเป็น 226 บาท
เรื่องที่